[vc_row][vc_column][vc_column_text css=”.vc_custom_1571658003397{margin-bottom: 22px !important;}”]

บริษัท พรีไซซ อีเลคตริค แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด

[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row” css=”.vc_custom_1571653526623{padding-top: 60px !important;padding-bottom: 30px !important;}”][vc_column]

knowledge

จากคาปาซิเตอร์ยุคต้นกำเนิด (ค.ศ.1745) สู่ยุคปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

คาปาซิเตอร์ (Capacitor) เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บพลังงานในรูปสนามไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน มีคุณสมบัติตรงข้ามกับตัวเหนี่ยวนำ จึงมักใช้หักล้างกันหรือทำงานร่วมกันในระบบไฟฟ้าต่าง ๆ แต่ทราบหรือไม่ว่า กว่าจะค้นพบที่เก็บประจุไฟฟ้าในระบบนั้น มีเรื่องราวที่น่าสนใจมากมาย ผ่านปัญหาและอุปสรรคอะไรหลายๆอย่าง และไม่ได้ล้มเหลวเพียงครั้งเดียว ในปี ค.ศ. 1745 (พ.ศ. 2288) ศาตราจารย์ด้านกฏหมาย ชาวเยรมัน ชื่อ Ewald Georg Von Kleist เป็นอาจารย์ทางด้านนิติศาตร์ในมหาวิทยาลัยไลเดน (Leiden University) ประเทศเนเธอร์แลนด์ในปัจจุบัน ศาตราจารย์ไคลสท์เป็นผู้ที่หลงไหลทางด้านไฟฟ้าอย่างยิ่ง โดยในทุกวันหลังจากเสร็จภารกิจสอนหนังสือ ก็จะไปหาความรู้ในภาควิชาฟิสิกส์ เพื่อหาทฤษฏีใหม่ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับไฟฟ้า ซึ่งศาสตร์ความรู้ในสาขาไฟฟ้าในสมัยนั้น เป็นเรื่องใหม่และเป็นที่สนใจอยู่ในกลุ่มเล็กๆ จึงถูกมองว่าเป็นพวกพ่อมด บางครั้งที่เดินภายนอกมหาวิทยาลัย ยังถูกชาวบ้านรังเกียจรวมถึงปาก้อนหินใส่ แต่ด้วยความชื่นชอบและหลงไหลในเรื่องไฟฟ้า ศาตราจารย์ไคลสท์จึงไม่ท้อถอย และหลังจากที่ลองผิดลองถูกอยู่นาน ก็สามารถคิดค้นวิธีเก็บอุปกรณ์ไฟฟ้าได้สำเร็จ โดยมีองค์ประกอบคือไหแก้ว พันด้วยอะลูมิเนียมฟอยล์ ซี่งส่วนปากไหจะมีลูกแก้วตะกั่วยืนออกประมาณหนึ่งในสี่ของขนาดไห ด้านในใหบรรจุน้ำเกลือจนเต็ม และปิดโดยรอบปากไหให้สนิทอีกที ซึ่งสิ่งนี้มีชื่อเรียกว่า “ไหของไลเดน” (Leyden Jar or…

Read more
knowledge

พรีไซซ ร่วมส่งเสริมวิถีแห่งธรรม เสริมสิริมงคลในวันมาฆบูชา

วันมาฆบูชา ในปี 2564 นี้ ตรงกับ วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ วันมาฆบูชาถูกกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการ เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสพักผ่อนและประกอบพิธีทางศาสนาได้อย่างเต็มที่ พรีไซซ ร่วมส่งเสริมวิถีแห่งธรรม เสริมสิริมงคลให้แฟนเพจทุกท่าน ด้วยการพาย้อนไประลึกถึงที่มาของวันมาฆบูชา รวมถึงแนวปฏิบัติที่ดีในวันมาฆบูชาสำหรับชาวพุทธทุกท่านครับ วันมาฆบูชา เป็นวันแห่งการระลึกถึง วันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์แก่มหาสังฆสันนิบาต ในมณฑลวัดเวฬุวันมหาวิหาร ซึ่งในวันนั้นมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการคือ 1. พระสงฆ์ 1,250 รูปที่พระพุทธองค์ได้ส่งไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาตามแว่นแคว้นต่างๆ ได้กลับมาเฝ้าพระพุทธเจ้าอย่างพร้อมเพรียงกันโดยมิได้นัดหมาย 2. พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นเอหิภิกขุที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เองทั้งสิ้น ซึ่งเรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา 3. พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นพระอรหันต์ คือผู้ได้อภิญญา 6 ข้อ 4. วันที่พระสงฆ์ทั้งหมดมาชุมนุมกันนี้ ตรงกับวันเพ็ญเดือนมาฆะ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) ด้วยเหตุการณ์ประจวบกับ 4 อย่าง จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จาตุรงคสันนิบาต (มาจากศัพท์บาลี จตุ+องฺค+สนฺนิปาต แปลว่า การประชุมอันประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสี่ประการ) โดยประชุมกัน ณ…

Read more
knowledge

กับดักเสิร์จแรงต่ำ อีกหนึ่งหัวใจสำคัญของระบบไฟฟ้า

กับดักเสิร์จแรงต่ำ เป็นอุปกรณ์ป้องกันแรงดันเกินที่เกิดขึ้นกับระบบจำหน่ายแรงต่ำ 1 เฟส 2 สาย , 1 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย โดยแรงดันต่ำ (Low voltage) หมายถึงแรงดันที่มีขนาด 220/380 โวลท์ หรือ 220/440 โวลท์ และใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าในครัวเรือนทั่วไป เมื่อเกิดฟ้าผ่า จะเกิดแรงดันเกินขึ้นในระบบ ซึ่งส่งผลต่อระบบไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น บ้านแห่งหนึ่งรับไฟฟ้าจากการไฟฟ้า 220 โวลท์ และมีความถี่ 50 เฮิร์ซ ก่อนจำหน่ายกระแสไฟฟ้าไปตามสายไลน์สู่เครื่องใช้ไฟฟ้า อาทิ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น แต่ถ้าวันหนึ่งมีการเกิดฟ้าผ่าทำให้เกิดการเหนี่ยวนำไฟฟ้าระบบสายส่งของการไฟฟ้า การเหนี่ยวนำไฟฟ้าแบบนี้เรียกว่า ไฟกระโชกนั้นเอง ชึ่งผลคือ อาจจะทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าช็อต เสียหายได้ ดังนั้นการติดตั้ง Low Votage Surge Arrester หรือกับดักเสิร์จแรงต่ำ จะช่วยป้องการการเกิดเหตุไม่คาดคิดที่เกิดจากไฟกระโชกได้…

Read more
knowledge

กับดักเสิร์จล่อฟ้าแรงสูง จบทุกความเสี่ยง จากภาวะแรงดันเกิน

ระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อโครงสร้างพื้นฐานในแต่ละประเทศในระดับมหภาค เนื่องจากเป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่สำคัญของทุกครัวเรือนและทุกหน่วยธุรกิจ ดังนั้นความเสถียรของระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูงและระบบจำหน่าย จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเราสามารถป้องกันสายส่งไฟฟ้าแรงสูงและระบบจำหน่ายให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้อยู่เสมอ รวมถึงการป้องกันเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่จะเกิดขึ้นอย่างฉับพลันโดยไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าหรือเห็นก่อนได้ เช่น ฟ้าผ่า เป็นต้น จะก่อให้เกิดแรงดันเกินในระบบ เป็นสาเหตุของการระเบิดได้ (แรงดันไฟฟ้าในระบบแรงสูง 115 kV 230 kV และ 500 kV สู่ในระบบจําหน่าย 22 kV, 24 kV และ 33 kV) กับดักเสิร์จแรงสูง (High Voltage Surge Arrester) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการลดทอนความผิดพลาด ให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่ออุปกรณ์ที่ต่ออยู่ในระบบส่งจ่ายไฟฟ้ารวมถึงสิ่งมีชีวิตบริเวณรอบ โดยจะช่วยลดปัญหาต่างๆที่เกิดจากแรงดันเกิน ซึ่งกับดักเสิร์จแรงสูงจะป้องกันค่าแรงดันที่มีขนาดตั้งแต่ 220 V ขึ้นไป และใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูงในระบบ อาทิ หม้อแปลงไฟฟ้า , ตู้ MDB , สวิตช์สำหรับตัดต่อระบบไฟฟ้าแรงสูง (Recloser) , Switchgears และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เป็นต้น การพิจารณาเลือกใช้พิกัดแรงดันและพิกัดกระแสไฟที่จ่ายออกไป (Discharge Current)…

Read more
knowledge

ทำไมเราต้องใส่ใจกับ “ปลั๊กพ่วง” ??

คุณทราบหรือไม่ ปลั๊กพ่วง ทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรและเกิดไฟไหม้ ทำลายทรัพย์สินและชีวิตมากที่สุดในปีที่ผ่านมา ด้วยการจัดอันดับจาก นักดับเพลิงเผย 5 สาเหตุ ทำไฟไหม้บ้าน บ่อยที่สุด! ข้อมูลจากปากนักดับเพลิง สถานีดับเพลิงสามเสน พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความประมาทและมองข้ามสิ่งเล็กๆน้อยๆเช่น การใช้ปลั๊กพ่วงที่ไม่มีมาตรฐาน, การเสียบหรือต่อปลั๊กเยอะเกินไป, เสียบทิ้งไว้นานข้ามวันข้ามคืนจนเกิดความร้อน ทำให้ไฟฟ้าลัดวงจรนั่นเอง  ปลั๊กพ่วง ปลั๊กราง ปลั๊กสามตา เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทุกบ้านต้องมีไว้ใช้ แต่รู้หรือไม่ว่าปลั๊กพ่วงที่ไม่ได้มาตรฐานเป็นสาเหตุอันดับต้น ๆ ของไฟฟ้าลัดวงจรที่อาจนำไปสู่เหตุไฟไหม้ได้ เมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2561 ที่ผ่านมาจึงได้มีการประกาศใช้ “มอก.ปลั๊กพ่วง” ขึ้น แต่ปัจจุบันพบว่า มีบางส่วนที่ยังไม่ได้เปลี่ยน คงใช้ปลั๊กพ่วงไม่ได้มาตรฐานอยู่ ลักษณะของปลั๊กพ่วงที่ได้มาตรฐานตามกฎหมายใหม่นั้นต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง พรีไซซรวบรวมมาให้แล้วครับ ลักษณะของปลั๊กพ่วงที่ได้มาตรฐานตามมอก. ปลั๊กพ่วงฉบับล่าสุด มอก.ฉบับนี้บังคับใช้กับปลั๊กพ่วงแบบหยิบยกได้ รวมถึงชุดสายพ่วง ที่บรรจุภัณฑ์มีตรามาตรฐานมอก. 2432-2555 ในรุ่นที่มีสวิตช์ ตัวสวิตช์ต้องถูกต้องตามมาตรฐานมอก. 824-2551 หัวปลั๊กต้องใช้เป็นแบบ 3 ขากลม (กลมทั้ง 3 ขา) ตามมาตรฐานมอก.166-2549 เท่านั้น แรงดันไฟฟ้าต้องไม่เกิน 440 W…

Read more
[/vc_column][/vc_row][vc_row full_width=”stretch_row” css=”.vc_custom_1571709265691{margin-bottom: 20px !important;}”][vc_column width=”1/4″][/vc_column][vc_column width=”1/2″ css=”.vc_custom_1571709201309{border-top-width: 2px !important;border-right-width: 2px !important;border-left-width: 2px !important;background-color: #00a0d3 !important;border-left-color: #00a0d3 !important;border-left-style: solid !important;border-right-color: #00a0d3 !important;border-right-style: solid !important;border-top-color: #00a0d3 !important;border-top-style: solid !important;border-radius: 15px !important;}”][vc_row_inner content_placement=”middle”][vc_column_inner width=”1/2″][vc_column_text css=”.vc_custom_1571709540392{margin-bottom: 22px !important;}”]

ติดตามเพิ่มเติมผ่าน
Facebook Precise
[/vc_column_text][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/2″][vc_btn title=”ติดตามเพิ่มเติม” color=”black” align=”center” i_icon_fontawesome=”fa fa-facebook-square” add_icon=”true” link=”url:https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2FPreciseproducts%2F|||”][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][vc_column width=”1/4″][/vc_column][/vc_row]